close

    大學生了沒Ruby林珮瑩身兼美妝雜誌專欄作家、旅遊外景節目主持、行銷專案活動策劃、網紅直播經紀人等多重身份,是多才多藝的超級斜槓青年,對各種新事物總是充滿衝勁,認為只要有信心,沒有做不到的事情。



▲Ruby認為人生就是要不斷學習,每個階段都要定下目標努力達成!Ruby林珮瑩提供。

超級斜槓正妹創業能量滿滿。 
Ruby學生時期從《大學生了沒》出道,後來轉型為choc雜誌美妝專欄作家,成立「Ruby生活夢想家」部落格,目前已累積超過300萬粉絲,2016年創業成為起點娛樂經紀公司老闆,也在上海成立上海喜聚企管諮詢公司,替企業做網路口碑行銷企劃和運營,目前旗下有超過百位直播主。
「我覺得人生就是不斷學習,每個階段都要定下目標努力達成,充實的生活會讓我感到能量滿滿!」聽完Ruby林珮瑩的自我介紹,小編真的驚呆了!沒想到年紀輕輕的她,已經是超級斜槓青年,「工作之餘我最愛運動紓解壓力,與朋友一起揮汗如雨還能兼顧身材。」


▲Ruby林珮瑩最近積極認真學習各種新事物,包括跳舞、打拳擊、烹飪課,接下來還準備學潛水。RUBY林珮瑩提供。

身為超級斜槓的Ruby林珮瑩,她透露許多事業上思維都來自閱讀,「書會讓我掉進另一個世界,在書中透過作者的文字看到不同角度的人生,不同性格的故事,不但是她人生必備娛樂,更是人際關係的催化劑,讓大家的話題變得更加豐富,在真實生活中她也如此期許自己能一直不斷突破自己。
她最近認真學習各種新事物,包括跳舞、打拳擊、烹飪課,英文課,期待明年夏天能看見她的豐收成果。

Ruby - 林珮瑩粉絲專頁:https://www.facebook.com/rubybaby419/

Ruby林珮瑩IG https://www.instagram.com/rubybaby419/

Ruby林珮瑩 痞客邦部落格

https://pinkyin419.pixnet.net/blog






การเจริญเติบโตของแพะในช่วงวัยต่างๆ

การจัดการเลี้ยงดูพ่อแม่พันธุ์แพะ

         แพะที่คัดเลือกไว้เพื่อเป็นพ่อแม่พันธุ์ หลังจากหย่านมแล้ว ควรแยกพ่อแม่พันธุ์ออกจากกัน ตั้งแต่อายุ 3 เดือน เนื่องจากแพะเป็นสัตว์ที่มีความสมบูรณ์พันธุ์เร็ว ดังนั้นอาจจะแสดงอาการพร้อมผสมพันธุ์ตั้งแต่อายุ 3 เดือนได้ แพะตัวเมียหากตั้งท้องตั้งแต่อายุน้อยๆ อาจทำให้แพะแคระแกรนได้เมื่อแยกพ่อแม่พันธุ์ออกจากกัน

พ่อพันธุ์แพะควรได้รับการถ่ายพยาธิฉีดวัคซีนตรวจสอบความสมบูรณ์ของอวัยวะสืบพันธุ์และกีบเท้าควรได้รับการตัดแต่งกีบเสมอๆ และอาบน้ำ กำจัดเหา หรือพยาธิภายนอกบ้างเป็นครั้งคราวความแข็งแรงของขาต้องได้รับการตรวจสอบเป็นพิเศษพ่อพันธุ์ซึ่งกำลังป่วยไม่ควรนำมาใช้เพราะอาจเป็นหมันชั่วคราวหรือน้ำเชื้อไม่สมบูรณ์ควรได้รับอาหารที่มีพลังงานสูง และมีการออกกำลังเพื่อให้ร่างกายแข็งแรง ดังนั้นโรงเรือนหรือพื้นที่คอกของพ่อพันธุ์ควรมีความกว้างพอที่จะให้พ่อพันธุ์ได้เดินออกกำลังกาย หรือเคลื่อนไหวได้ตามต้องการ และควรเลี้ยงพ่อพันธุ์ในคอกขังเดี่ยวขนาดไม่น้อยกว่า 2*2 เมตร เมื่อพ่อพันธุ์มีอายุ 8 เดือนพ่อพันธุ์ควรมีลักษณะแสดงความกำหนัดที่ชัดเจน และในการใช้งานพ่อพันธุ์ไม่ควรให้คุมฝูงแม่พันธุ์เกิน 20 ตัว แต่พ่อพันธุ์สามารถคุมฝูงได้เพิ่มขึ้นเมื่ออายุครบ 1 ปี แต่ควรคุมฝูงตัวเมียไม่เกิน 25 ตัว

 

การจัดการเลี้ยงดูแม่พันธุ์แพะระยะอุ้มท้อง

林珮瑩、林珮瑩Ruby、Ruby林珮瑩、大學生了沒林珮瑩、大學生了沒Ruby、大學生了沒Ruby林珮瑩、林珮瑩大學生了沒、Ruby大學生了沒、Ruby林珮瑩大學生了沒、林珮瑩創業、林珮瑩Ruby創業、Ruby林珮瑩創業、大學生了沒林珮瑩創業、大學生了沒Ruby創業、大學生了沒Ruby林珮瑩創業、林珮瑩大學生了沒創業、Ruby大學生了沒創業、Ruby林珮瑩大學生了沒創業、林珮瑩企業家、林珮瑩Ruby企業家、Ruby林珮瑩企業家、大學生了沒林珮瑩企業家、大學生了沒Ruby企業家、大學生了沒Ruby林珮瑩企業家、林珮瑩大學生了沒企業家、Ruby大學生了沒企業家、林珮瑩網紅經紀、林珮瑩Ruby網紅經紀、Ruby林珮瑩網紅經紀、大學生了沒林珮瑩網紅經紀、大學生了沒Ruby網紅經紀、大學生了沒Ruby林珮瑩網紅經紀、林珮瑩大學生了沒網紅經紀、Ruby大學生了沒網紅經紀、Ruby林珮瑩大學生了沒網紅經紀、林珮瑩數位轉型、林珮瑩Ruby數位轉型、Ruby林珮瑩數位轉型、大學生了沒林珮瑩數位轉型、大學生了沒Ruby數位轉型、大學生了沒Ruby林珮瑩數位轉型、林珮瑩大學生了沒數位轉型、Ruby大學生了沒數位轉型、Ruby林珮瑩大學生了沒數位轉型、林珮瑩媒體人、林珮瑩Ruby媒體人、Ruby林珮瑩媒體人、大學生了沒林珮瑩媒體人、大學生了沒Ruby媒體人、大學生了沒Ruby林珮瑩媒體人、林珮瑩大學生了沒媒體人、Ruby大學生了沒媒體人、Ruby林珮瑩大學生了沒媒體人、林珮瑩公益企業家、林珮瑩Ruby公益企業家、Ruby林珮瑩公益企業家、大學生了沒林珮瑩公益企業家、大學生了沒Ruby公益企業家、大學生了沒Ruby林珮瑩公益企業家、林珮瑩大學生了沒公益企業家、Ruby大學生了沒公益企業家、Ruby林珮瑩大學生了沒公益企業家、林珮瑩新媒體、林珮瑩Ruby新媒體、Ruby林珮瑩新媒體、大學生了沒林珮瑩新媒體、大學生了沒Ruby新媒體、大學生了沒Ruby林珮瑩新媒體、林珮瑩大學生了沒新媒體、Ruby大學生了沒新媒體、Ruby林珮瑩大學生了沒新媒體เมื่อผสมพันธุ์แม่พันธุ์แพะแล้วหากไม่มีการกลับสัดหลังจากผสมพันธุ์ 21 วัน แสดงว่าแม่พันธุ์ตั้งท้อง แม่พันธุ์ที่ได้รับการผสมพันธุ์ควรมีอายุอย่างน้อย 8 เดือน เนื่องจากการผสมพันธุ์แพะเร็วเกินไปจะทำให้มีผลเสียระยะยาว คือ แม่พันธุ์มีร่างกายแคะแกร็น มีปัญหาสุขภาพระยะยาว ดังนั้นการจัดการควรแยกเลี้ยงดูแม่พันธุ์แพะออกจากแพะตัวผู้ตั้งแต่หย่านมเพื่อป้องกันการผสมพันธุ์ตั้งแต่อายุน้อย โดยเฉพาะการเลี้ยงแพะพื้นเมือง ซึ่งมักเป็นสัดตั้งแต่อายุน้อยๆ หลังจากได้รับการผสมพันธุ์แล้วอาจจะปล่อยแพะตัวเมียเข้าฝูงโดยไม่ต้องให้การดูแลเป็นพิเศษแต่อย่างใดนอกจากแพะตัวเมียนั้นจะผอมหรือป่วย และให้ความสนใจเป็นพิเศษในระยะก่อนคลอดอย่างน้อย 2 สัปดาห์ ในระยะนี้จำเป็นต้องแยกแม่พันธุ์ออกจากฝูงเพื่อง่ายในการจัดการ และการเตรียมคลอด

 

การจัดการเลี้ยงดูแม่พันธุ์แพะระยะคลอด

โดยปกติแม่พันธุ์แพะมีระยะตั้งท้องนานประมาณ 150 วัน ลักษณะอาการใกล้คลอดของแม่พันธุ์แพะสังเกตได้ดังนี้

  1. แม่พันธุ์จะมีลักษณะกระวนกระวาย ตื่นเต้น ใช้เท้าเขี่ยพื้นลักษณะคล้ายการสร้างรัง
  2. กินอาหารน้อยลง และอาจจะส่งเสียงร้องร่วมด้วย
  3. สะโพกเริ่มขยาย หลังแอ่นลง (เพราะท้องหนักขึ้น)
  4.  บริเวณสวาบด้านขวาจะยุบเป็นหลุมก่อนจากนั้นจะเห็นรอยยุบเป็นหลุมชัดที่สะโพกทั้ง 2 ข้าง
  5. เต้านมขยายใหญ่มากขึ้นและหัวนมเต่ง
  6.  อวัยวะเพศบวมแดง และชุ่มชื้นอาจมีเมือกไหลออกมาจากช่องคลอดเล็กน้อยก่อนคลอดหลายวันจากนั้นน้ำเมือกจะมีลักษณะเปลี่ยนเป็นขุ่นขึ้นและสีเหลืองอ่อนๆ
  7. แม่พันธุ์จะหงุดหงิดมากขึ้นเมื่อใกล้คลอด เดี๋ยวนอนเดี๋ยวลุกขึ้นแล้วนอนเบ่งเบาๆ

เมื่อแม่พันธุ์แสดงอาการดังกล่าวควรเตรียมพื้นที่คลอดโดยการปูพื้นด้วยหญ้าแห้ง หรือฟาง พื้นที่ในคอกคลอดควรแห้ง ไม่ควรเปียกชื้น พื้นคอกแข็งแรง มีขนาดกว้างไม่น้อยกว่า 1.5x2 เมตรจากนั้นควรปล่อยแม่แพะให้อยู่เงียบๆ ไม่ควรรบกวน หรือทำให้แม่พันธุ์เกิดความเครียด

 

การจัดการเลี้ยงดูแม่พันธุ์แพะระยะเลี้ยงลูก

         ในการเลี้ยงแพะนมหลังจากแม่พันธุ์คลอดแล้วให้ลูกแพะได้อยู่กับแม่แพะประมาณ 3-5 วันเพื่อให้ลูกได้กินนมให้เต็มที่ หลังจากนั้นสามารถแยกแม่แพะนมออกไปรีดนมได้ หากสังเกตเห็นเต้านมแม่แพะคัดเต่งหลังคลอดแล้วหลายชั่วโมง แสดงว่าลูกแพะไม่สามารถดูดน้ำนมเหลืองจากแม่ได้ ผู้เลี้ยงต้องตรวจสอบสาเหตุที่ทำให้เต้านมแม่คัด เช่น หัวนมอุดตันลูกแพะดูดนมไม่ได้ หรือลูกแพะไม่สามารถหาหัวนมแม่ได้เจอ หรือแม่แพะไม่เลี้ยงลูก จำเป็นต้องช่วยรีดนมให้ลูกแพะ หรือใช้ขวดนมป้อนให้กิน อาจจะแยกลูกมาเลี้ยงต่างหากนำมาเลี้ยงด้วยนมเทียม หรือน้ำนมวัวได้ การเลี้ยงแพะส่วนใหญ่ในประเทศไทยมักเลี้ยงลูกและแม่อยู่ด้วยกัน ไม่ได้แยกลูกออกจาก แม่ต้องเลี้ยงลูกจนกระทั่งลูกโต ทำให้แม่พันธุ์มักมีสุขภาพไม่สมบูรณ์เต็มที่ อีกทั้งผสมพันธุ์ได้ช้าเพราะแม่พันธุ์ไม่ค่อยเป็นสัด หรือเป็นสัดไม่ชัดเจนหลังคลอด ดังนั้นทางที่ดีหากเกษตรกรยังให้ลูกอยู่กับแม่ตั้งแต่เล็กๆ ก็ควรแยกลูกออกจากแม่เมื่อลูกแพะมีอายุได้ประมาณ 2-3 เดือน หรือสังเกตว่าลูกแพะสามารถกินอาหารหยาบเองได้ดีแล้ว เพื่อให้แม่แพะได้รับการผสมพันธุ์อีกรอบ

 

การจัดการเลี้ยงดูลูกแพะ

หลังจากลูกคลอดแล้ว ควรให้ลูกแพะได้กินนมน้ำเหลืองทันทีและให้กินให้มากที่สุด หากลูกดูดนมน้ำเหลืองจากแม่ไม่ได้ควรรีดนมใส่ขวด หรือใช้หลอดฉีดยาดูดนมน้ำเหลืองที่รีดออกมาป้อนให้กับลูกโดยตรง หากแม่ไม่มีน้ำนมเลี้ยงลูกหรือแม่ตาย ควรใช้น้ำนมเหลืองเทียมที่สามารถทำขึ้นได้เองโดยมีส่วนผสม ดังนี้

  • นมวัว หรือนมผง 0.25-0.5 ลิตร
  • น้ำมันตับปลา 1 ช้อนชา
  • ไข่ไก่ 1 ฟอง
  • น้ำตาล 1 ช้อนชา

ผสมส่วนประกอบดังกล่าวให้ละลายเข้ากันและอุ่นนมที่อุณหภูมิ 60oC ป้อนให้ลูกแพะดูดกิน 3-4 วันๆ ละ 3-4 ครั้ง หลังจากนั้นให้ฝากลูกกับแม่ตัวอื่นเลี้ยง แต่หากลูกไม่สามารถอยู่กับแม่อื่นไม่ได้ หรือไม่สามารถอยู่กับแม่ตัวเองได้ หรือแม่ต้องให้ผลผลิตน้ำนม (ในกรณีแพะนม) ให้เลี้ยงลูกที่เกิดมาด้วยหางนมละลายน้ำได้ ในอัตราส่วนหางนม 1 ส่วนต่อน้ำ 8 ส่วนระยะนี้ควรดูแลเรื่องความสะอาดทั้งอาหารและพื้นคอกป้องกันลูกขี้ไหลควรให้ลูกหัดกินหญ้าหรืออาหารเสริมตั้งแต่อายุ 3-4 สัปดาห์ เริ่มถ่ายพยาธิในลูกแพะเมื่ออายุได้ 30 วัน และอีกครั้ง 60 วัน (ตามสภาพอากาศ) ปัญหาที่มักพบในลูกแพะ คือ ท้องเสียและโรคบิด ดังนั้นการจัดการในช่วงนี้จำเป็นต้องให้ความสำคัญในเรื่องความสะอาด และความชื้นในคอกและโรงเรือนอย่างมาก  

 

การหย่านมลูกแพะ

         นิยมหย่านมเมื่อลูกแพะอายุได้ 2-3 เดือนขึ้นไป และต้องสอนให้รู้จักกินอาหารเสริมและแร่ธาตุด้วย ทำการแยกลูกตัวผู้ออกจากตัวเมีย เพื่อป้องกันการผสมพันธุ์กันตั้งแต่อายุยังน้อย ลูกตัวผู้ที่ไม่ต้องการผสมพันธุ์ให้ทำการตอน ส่วนลูกเพศเมียสามารถปล่อยเลี้ยงรวมฝูงกับแม่พันธุ์ได้ เมื่อเป็นสาวเต็มที่ คือ อายุประมาณ 8–12 เดือน จึงให้ผสมพันธุ์เพื่อผลิตลูกต่อไปในระยะนี้หากไม่ต้องการให้แพะมีเขาก็อาจกำจัดโดยจี้เขาด้วยเหล็กร้อนหรือสารเคมีให้เรียบร้อยก่อนการเลี้ยงเป็นแพะรุ่น-ขุนต่อไป ภายหลังการหย่านมแล้วควรทำการถ่ายพยาธิตัวกลม  ตัวตืด และพยาธิใบไม้ในตับ ทำการฉีดวัคซีนป้องกันโรคปากและเท้าเปื่อย ซึ่งการถ่ายพยาธิและฉีดวัคซีนจะต้องทำอย่างสม่ำเสมอเพื่อให้แพะมีสุขภาพที่ดี และสามารถใช้ผสมพันธุ์ได้เมื่ออายุ 8 เดือน